ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานนักเรียนของ นางสาว สุภานันท์ นิลเพชร์ ได้เลยค่ะ

หิมะ

Read more: http://nanfufu.blogspot.com/2012/05/blog-post_7965.html#ixzz3xlYkYJIl

วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2559

บทที่4 เรื่องฟังก์ชั่น

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน (Function)  คือ  ความสัมพันธ์  ซึ่งในสองคู่อันดับใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น  ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเท่ากันแล้ว  สมาชิกตัวห อ่านเพิ่มเติม


วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2559

บทที่3 ความน่าจะเป็น

ความรู้เดิมที่ผู้เรียนต้องทราบ
     1. ข้อความคาดการณ์ เป็นกระบวนการที่ใช้การสังเกตหรือการทดลองหลายๆครั้ง แล้ว รวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่จะน าไปสู่ข้อสรุป ซึ่งเชื่อว่ามีความเป็นไปได้มากที่สุด แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ ว่าเป็นจริง
     2. อัตราส่วนและร้อยละ ( Ratio and Percent ) อัตราส่วน คือ การเปรียบเทียบจ านวนสิ่งของชนิดเดียวกันตั้งแต่สองจ านวนขึ้นไป เช่น การแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมไทยกับทีมเวียดนาม คาดว่าไทยจะชนะ 5 ต่อ 2 ร้อยละ คือ เศษส่วน หรืออัตราส่วนที่มีส่วนเป็น 100 อาจแทนด้วยคำว่า “ เปอร์เซ็นต์ (%) ”                  เช่น พรุ่งนี้จะมีฝนตก ของพื้นที่ คาดว่านักท่องเที่ยวแถบอันดามันลดลง ความน่าจะเป็น ( Probability ) ในชีวิตประจำวันเรามักจะได้ยินค าพูดที่เกี่ยวกับการคาดคะเน การท านาย โอกาส หรือความ เป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ที่กล่าวถึง แต่ไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่าเหตุการณ์เหล่านั้นจะเกิดขึ้น หรือไม่ จนกว่าจะถึงเวลาที่กำหนด อ่านเพิ่มเติม

บทที่2 อัตตราส่วนตรีโกณมิติ


ตรีโกณมิติ

ปัจจุบัน มีการนำตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆ เช่น เป็นเทคนิคในการสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้ ในภูมิศาสตร์ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ในดาวเทียมนำทาง งานที่มีการใช้ประโยชน์จากตรีโกณมิติ ได้แก่ ดาราศาสตร์ (และการนำทางในมหาสมุทร บนเครื่องบิน และในอวกาศ) ,ทฤษฎีดนตรีสวนศาสตร์ทัศนศาสตร์, การวิเคราะห์ตลาดการเงิน, อิเล็กทรอนิกส์ทฤษฎีความน่าจะเป็นสถิติศาสตร์ชีววิทยาการสร้างภาพทางการแพทย์ อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตรีโกณมิติ

บทที่1 เลขยกกำลัง

 เลขยกกําลัง ถา a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเตม็ บวก “ a กําลัง n” หรือ “ a กําลัง n” เขียนแทนดวย an มีความหมายดังนี้ a n = a × a × a ×… a (a คูณกัน n ตัว) n ตัว เรียก an วาเลขยกกําลัง (power) โดยมี a คือฐาน (base) และ n คือเลขยกกําลัง (exponent) ระบบจํานวนเต็ม 1. จํานวนเตม็ - จํานวนเต็มลบ - ศูนย - จํานวนเต็มบวก ขอสรุป 1) 1 เปนจํานวนนับ หรือจํานวนเต็มบวกทนี่ อยที่สุด 2) ไมมีจํานวนนบั หรือจํานวนเต็มบวกที่มากที่สุด 3) ไมมีจํานวนเตมลบท ็ ี่นอยที่สุด 4) -1 เปนจํานวนเต็มลบ ที่มากที่สุด 5) บนเสนจํานวน จํานวนที่แทนดวยจดทุ ี่อยทางซ ู ายจะมีคาน อยกวาจํานวนที่แทนดวย จุดที่อยูทางขวาเสมอ อ่านเพิ่มเติม